2551-07-12

การจัดการองค์กรให้สอดคล้องกับยุคปัจจุบัน

ความสำคัญขององค์กร
องค์กร หมายถึง กลุ่มคนจำนวนตั้งแต่สองคนขึ้นไปที่มารวมกัน เพื่อทำงานด้วยกันภายใต้โครงสร้างองค์กรที่กำหนดไว้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่งของกลุ่มที่ตั้งไว้

การจัดการ
การจัดการ หมายถึง การจัดการทรัพยากรการบริหารมาใช้ในการดำเนินการ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อันประกอบด้วยกระบวนการวางแผน การควบคุม การอำนวยการและประสานการทำงานของฝ่ายต่าง ๆ ให้สำเร็จลุล่วงไปได้อย่างราบรื่น เพื่อให้ธุรกิจบรรลุผลสำเร็จตามแผนงานและโครงการที่วางไว้
  1. Planning การวางแผน
  2. Orgazizing การแบ่งงาน
  3. Staffing การบริหารงานบุคคล
  4. Leading การประสานงาน การบริหารจัดการ
  5. Controlling ตัวชี้วัด การประเมินผลงาน

Organization System
  • Organization (องค์กร)
  • Objective (วัตุประสงค์)
  • Management (การจัดการ)
  1. Organization
  • Formal Organization องค์กรที่เป็นทางการ
  • Informal Organization องค์กรที่เกิดขึ้นเป็นครั้งคราว แต่ถ้าหากมีการบริหารงานที่ดีก็จะกลายเป็น Formal Organization

Organization แบ่งเป็น 3 ประเภท

(1) Public Organization เป็นองค์กรทางราชการ ของรัฐบาลทั้งหมด เช่น ธนาคาร 5 แห่ง คือ ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารกรุงไทย

(2) Business Organization เป็นองค์กรทางธุรกิจ ที่ทำให้เกิดผลกำไร

(3) Social Organization เป็นองค์กรทางด้านสังคม เช่น บ้าน เครือญาติ

องค์ประกอบของคนดี

  • ศีล
  • สมาธิ
  • ปัญญา

(1) คนดี คือคนที่รักตัวเอง ไม่สร้างปัญหาแก่ตัวเอง
(2) รักพ่อแม่ ไม่สร้างปัญหาให้พ่อแม่ มีความกตัญญู
(3) รักสังคม ไม่สร้างปัญหาให้ทรัพยากรมนุษย์

สิ่งที่พ่อแม่ต้องการ
(1) ดี
(2) เก่ง
(3) มีงานทำเป็นหลักเป็นแหล่ง

2. Objective

  • Service Objective
  • Profit or Economic Objective
  • Social Objective

3. Management

  • Planning
  • Organizing
  • Staffing
  • Leading
  • Controlling

การบริหารจัดการ

  • Diaming Circle
  • Planning
  • Doing
  • Checking
  • Acting

3 ทักษะที่ต้องเจอในองค์กร

  1. Social Organization
  2. Plublic หรือ Buainess Organization
  3. Technical Sgreen

วิธีการแบ่งเงินเดือนไว้ 4 ส่วน

  1. ตัวเอง : ใช้จ่ายส่วนตัว
  2. พ่อแม่ : ตอบแทนบุญคุณ
  3. เก็บออม
  4. เหตุฉุกเฉิน
สิ่งที่ทุกหน่วยงานมีให้
  1. บรรทัดฐาน (Norm) แบบฟอร์ม ระเบียบกฎเกณฑ์หรือสิ่งที่ต้องปฏิบัติตาม
  2. วัฒนธรรมองค์กร (Value) การแต่งกาย การทักทาย เป็นต้น
สาเหตุของความล้มเหลว
  • ใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการทำงานประจำวันมากกว่าการคิดถึงแผนกลยุทธ์
  • ขาดทักษะในการสื่อสาร คือ ทักษะการพูดจูงใจ การฟัง การอ่าน การตีความข้อมูลข่าวสารและการเขียน
  • ขาดทักษะในการทำงานเป็นทีม

สาเหตุของความล้มเหลวในการจัดการองค์กร

  • มีความเชื่อมั่นในตนเองสูง มีอัตตาสูง
  • ตัดสินใจจากสัญชาตญาณมากกว่าข้อมูล
  • ไม่สนใจรายละเอียดของขั้นตอนและเนื้อหาของงาน
  • ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้

แนวคิดใหม่เกี่ยวกับการจัดการองค์กรในยุคปัจจุบัน

ที่สำคัญ คือ การจัดการตนเอง (Self-Organization) ซึ่งเป็นระบบที่ปรับตัวได้ ยืดหยุ่นได้ ฟื้นฟูตัวเองได้ กลับสู่สภาพเดิมได้ง่าย รู้จักเรียนรู้ด้วยตัวเองและมีปัญญาเป็นของตัวเอง เมื่อใดก็ตามที่เกิดการเปลี่ยนแปลงก็สามารถปรับตัวและจัดการตนเองเสียใหม่ จนพัฒนาเป็นระบบที่ซับซ้อนขึ้นได้เอง โดยไม่ต้องมีการบังคับทิศทางหรือรูปแบบจากภายนอก คุณสมบัติเหล่านี้เป็นคุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต และเป็นคุณสมบัติของผู้นำทุก ๆ คน

หลักการที่สำคัญมีอยู่ 3 ประการ

  1. ตัวตน (Identity) ความเข้าใจร่วมกันขององค์กร การจัดการองค์กรทุกองค์กรนั้นจะต้องมีตัวตนที่ถูกจัดการ
  2. ข้อมูล (Information) สื่อขององค์กร ข้อมูล คือ หัวใจสำคัญของการดำเนินชีวิต เป็นสิ่งที่ทุก ๆ คนเข้าถึงได้ และมีพร้อมอยู่เสมอ
  3. ความสัมพันธ์ (Relationships) เส้นทางเชื่อมโยงภายในองค์กร ความสัมพันธ์ คือ เส้นทางสู่ปัญญาของระบบ

องค์กรที่จะประสบผลสำเร็จต้องประกอบด้วย

  • การยอมรับการเปลี่ยนแปลงกระบวนการ
  • ความสามารถของพนักงานในการปรับปรุง
  • โครงสร้างองค์กรที่เหมาะสม
  • การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
  • การมีตัวชี้วัดที่ดีที่สุด

หลัการทรงงานของในหลวง

ได้ประโยชน์สูงสุด ทำให้ง่าย

ขาดทุนคือกำไร พออยู่ พอกิน รู้รักสามัคคี

ทำตามลำดับขั้น ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ

ไม่ติดตำรา มุ่งประโยชน์คนส่วนใหญ่

บริการรวมที่จุดเดียว เศรษฐกิจพอเพียง

ทำงานอย่างมีความสุข รู้รักสามัคคี

ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ ภูมิสังคม

แก้ปัญหาที่จุดเล็ก ใช้อธรรมปราบอธรรม

การมีส่วนร่วม การพึ่งตนเอง

องค์รวม ความเพียร

ระเบิดขากข้างใน ประหยัด เรียบง่าย

การให้ทฤษฎีโดมิโน ปลูกป่าในใจคน

ไม่มีความคิดเห็น: